รีวิว 12 Years A Slave (86th)

เรื่องราวของ Solomon Northup (Chiwetel Ejiofor) ชายผิวดำที่เป็นเสรีชนที่ลูกมีเมียแล้ว อาศัยอยู่ในนิวยอร์ก แต่โชคชะตาพลิกผันเขาถูกขายไปเป็นทาสโดยที่เขาไม่ทันได้ต่อต้านอะไร ตื่นขึ้นมาอีกที เขาก็กลายเป็นทาสไปแล้ว

เนื้อเรื่อง รีวิว 12 Years A Slave (86th)

 

รีวิว 12 Years A Slave (86th)

 

12 Years A Slave มีชื่อไทยคือ ปลดแอคคนย่ำคน เป็นเรื่องจริงอีกเรื่องที่ดูแล้วถือว่าดราม่ามาก ๆ เพราะว่า 12 Years a Slave ภาพยนตร์ที่สร้างจากเรื่องจริงในยุค 1840 ของ โซโลมอน นอร์ธอัพ ชายผิวสีนักดนตรีที่มีความสุขอยู่กับภรรยา และลูกสองคน แต่แล้ววันหนึ่งเขากลับถูกจับไปเป็นทาสนานกว่า 12 ปี

เรื่องย่อ รีวิว 12 Years A Slave (86th)

 

รีวิว 12 Years A Slave (86th)

 

เรื่องราวของการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เส้นทางชีวิตของชายผู้หนึ่งทั้งประเทศต้องจดจําย้อนกลับไปในช่วงเวลาก่อนยุคสงครามกลางเมืองในประเทศอเมริกา โซโลมอน นอร์ทอัพ (ชิวอิเทล เอจิโอฟอร์) ชายผิวดําจากนิวยอร์กที่ถูกลักพาตัว และ ขายเป็นทาสยาวนานถึง 12 ปี ซึ่งทําให้ชีวิตของเขาต้องประสบ กับ ความเลวร้ายยากลําบากเกินกว่าใครจะ

 

คาดคิด แต่ โซโลมอน ก็มิได้ยอมแพ้ต่อโชคชะตา เขายังคงยืนหยัดต่อสู้เพื่อที่จะมีชีวิตรอด และ เพื่อศักดิ์ศรีของเขาจนนํามาซึ่งจุดเปลี่ยนในที่สุด โดยความช่วยเหลือจาก ทนายความ (แบรด พิตต์) ผู้มุ่งมั่นในอุดมการณ์ และ ความถูกต้อง ที่เป็นแรงผลักดันสําคัญให้ โซโลมอน เรียกร้องเสรีภาพของตนเองคืนมาจาก นายจ้าง (ไมเคิล ฟาสเบนเดอร์) ผู้ไม่มีหัวใจที่เป็นธรรม ดูหนัง 

 

รีวิว 12 Years A Slave (86th)

 

12 Years a Slave สร้างจากเรื่องจริงช่วงยุค 1840 ของโซโลมอน นอร์ธอัพ (Chiwetel Ejiofor) ชายผิวดำเป็นไทมีการศึกษาถูกลักพาตัวไปขายเป็นทาสนานถึง 12 ปี!!!

 

แน่นอนว่าหนังไม่ได้ขายพล๊อตครับ หนังขายชีวิตของชายผิวดำคนหนึ่งที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นอิสระแต่แล้วก็ถูกพรากทุกอย่างไปจากชีวิต ถูกขายเป็นทาสยาวนานถึง 12 ปี ซึ่งหนังนำเสนอสถานะทาสผิวดำออกมาได้ในแบบ “ความเป็นจริง” ชีวิตทาสถูกถ่ายทอดออกมาได้อย่างหดหู่ และ ในความเห็นผมมันก็มีเท่านี้จริง ๆ เพราะประเด็นอื่นที่หนังพูดถึงขึ้นมามันเป็นการพูดลอย ๆ ซะมากกว่า ดูหนังออนไลน์

 

 

ในสายตาผมไม่ได้มองว่าเรื่องนี้มีคนเลวด้วยซ้ำ ยกเว้นคนที่มันลักพาตัวโซโลมอนมาขายเป็นทาสซึ่งไม่มีบทบาทในหนัง ตัวละครอย่างเอ๊พพ์ (Michael Fassbender) ที่ผมเห็นหลายคนบอกว่าเลว เอาเข้าจริงผมก็มองว่ามันเป็นเรื่องของ “ค่านิยมตามยุคสมัย” ในเมื่อค่านิยมยุคนั้นมีการซื้อขายทาสมาใช้แรงงาน นายทาสอย่างเอ๊พพ์ก็มองว่า “ทาส ไม่ใช่ มนุษย์” แต่เป็นเพียง

 

 

“สมบัติของนายทาส” ดังนั้นเขาจะทำอะไรกับสมบัติของเขาก็ย่อมได้ เอ๊พพ์ไม่ได้เลวแบบเอะอะทำร้าย เอะอะลงโทษ ทุกสิ่งที่เขาตัดสินใจมันมีเหตุผลในมุมของเขา และ ถ้ามองด้วยความเป็นธรรมก็จะเห็นว่าเอ๊พพ์ก็มีมุมอ่อนโยนเพียงแต่มันถูกกดด้วยค่านิยมที่เขาสร้างขึ้นมากดทับความรู้สึกของตัวเอง ดังนั้นถ้าเราเอา “ค่านิยมยุคหลัง” ไปตัดสินระบบทาสยุคนั้น เราก็ย่อมมอง

 

ว่าสิ่งที่เอ๊พพ์กระทำคือความเลวร้ายแน่นอนครับ และ เมื่อสังคมเริ่มรับไม่ได้กับระบบทาสก็เกิดเป็นการต่อสู้เพื่อล้มเลิกระบบค้าทาส ซึ่งถึงแม้จะเลิกระบบทาสได้สำเร็จเราก็ยังเห็นการลดระดับความรุนแรงเป็น “ระบบเหยียดผิว” แบ่งชนชั้นกันด้วยสีผิวอยู่ดี

 

 

สองสิ่งที่ผมกล่าวมาทำให้ผมมองว่า 12 Years a Slave เป็นหนังที่ดีครับ ผมชอบที่ตัวละครในเรื่องไม่ใช่แบบร้ายสุดโต่ง ตัวที่ดีก็ไม่ใช่ดีสุดขั้ว มันมีจุดลงตัวที่เห็นถึงเหตุผลของการกระทำต่าง ๆ ของทุกตัวละคร ทั้งนายทาส ภรรยานายทาส ผู้คุมทาส แม้กระทั่งในกลุ่มทาสด้วยกันซึ่งหลัก ๆ หนังก็เน้นที่ชีวิตของโซโลมอนอยู่แล้ว ส่วนตัวละครอื่นก็มีพูดถึงนิด ๆ หน่อย ๆ ใน ดูหนัง 4k

 

ขณะเดียวกันการนำเสนอความเลวร้ายของการค้าทาสก็นำเสนอได้หดหู่แบบ “สมจริง” ไม่ต้องปรุงแต่งบิ๊วอารมณ์คนดูมาก แค่ดำเนินเรื่องให้น่าเชื่อถือทุกอย่างมันก็จะออกมาดีเอง (แต่ผมดูแล้วรู้สึกเฉย ๆ นะ ไม่ได้หดหู่อะไรขนาดน้ำตาแตก ไม่ได้ดูจบแล้วอินอารมณ์ค้าง)

 

การแสดงของชิวอิเทล เอจิโอฟอร์อยู่ในเกณฑ์ดีทีเดียวครับ แต่ถ้าพูดถึงขั้นว่ายอดเยี่ยมขนาดเป็นเต็งออสการ์ไหม ผมยังไม่รู้สึกถึงขั้นนั้นนะ (มันไม่โดดเด่นขึ้นมาขนาด Colin Firth, Daniel Day-Lewis หรือ Sean Penn ในช่วงปีหลัง) เช่นเดียวกับฟาสเบนเดอร์ที่ผมให้ในระดับที่ดีแต่ยังไม่โดดเด่นถึงขั้นขึ้นมาเต็งออสการ์ปีนี้

 

 

ถ้าหากคุณอยากดูหนังระบบทาสให้ครบเซ็ท ต้องเปิดด้วยความหดหู่ของชีวิตทาสใน 12 Years a Slave แล้วตามด้วยผู้ที่ต่อสู้ทางการเมืองเพื่อเลิกทาสใน Lincoln และ จบด้วยการอวยดินแดนเสรีภาพอเมริกาใน The Butler

 

โซโลมอน นอร์ธอัพ ที่อาศัยอยู่ในเมืองอันเงียบสงบทางตอนเหนือของสหรัฐฯ ถูกชายแปลกหน้าสองคนหลอกวางยา และ ขายเขาให้ไปเป็นทาสในเมืองทางใต้ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ทำไร่เป็นอาชีพหลัก จึงต้องการแรงงานทาสจำนวนมาก โซโลมอน จึง

วันหนึ่งเอปส์โกรธที่พบว่าแพตซีหายไปจากโรงฝ้าย แพตซีกลับมา และ บอกว่าไปเอาสบู่จากคุณนายชอว์ (อัลเฟร วูดดาร์ต) เนื่องจากตัวเองไม่สบายเพราะมีกลิ่นเหม็นที่ตัว และ แมรี เอปส์ไม่ยอมให้สบู่ เอปส์ไม่เชื่อเรื่องนี้ และ ให้เธอถอดเสื้อผ้ามัดกับเสา เอปส์สั่งให้นอร์ธัปโบยแพตซีตามคำยุของภรรยา นอร์ธัปทำแบบไม่รุนแรง ทำให้เอปส์เอาโบยมาเองจนทำให้แพตซีบาดเจ็บสาหัส นอร์ธัปพังไวโอลินหลังจากนั้น และ ในขณะที่กำลังสร้างศาลาสวน เขาถามบาสว่ามาจากที่ไหน บาสตอบว่าแคนาดา นอร์ธัปจึงสารภาพเรื่องที่เขาถูกลักพาตัว และ ขอให้บาสนำจดหมายไปส่งที่ซาราโตกาสปริงส์อีกครั้ง บาสบอกว่าเขาเสี่ยงชีวิตที่จะทำงานนี้ แต่จะจัดการส่งให้ หลังจากนั้นไม่นานนายอำเภอมากับชายคนหนึ่งมาตามหานอร์ธัป นายอำเภอถามคำถามชุด ดูหนังออนไลน์ 4k

 

 

หนึ่งเพื่อยืนยันชีวิตความเป็นอยู่ในนิวยอร์กของเขา เขาจำได้ว่าคนที่ตามมาด้วยคือผู้ติดตามของนายอำเภอที่เคยเจอที่ซาราโตกา และ นายอำเภอมาเพื่อปลดปล่อยเขา ทั้งสองสวมกอดกัน และ รีบเดินทางไปจากที่นั่นทันที เป็นที่เกรี้ยวกราดแก่เอปส์ และ เป็นที่ไม่พอใจของแพตซี หลังจากเป็นทาสมาสิบสองปีนอร์ธัปได้กลับคืนความเป็นไทอีกครั้ง ตอนที่เขาเดินเข้าบ้านเขาพบ

 

ครอบครัวของเขา รวมถึงลูกสาวที่มีหลานชายชื่อเดียวกับเขา ในฉากจบมีการพูดถึงว่านอร์ธัป และ ที่ปรึกษากฎหมายของเขาไม่สามารถจะนำคนที่ต้องรับผิดชอบต่อการเป็นทาสของเขามาลงโทษได้ และ มีการกล่าวถึงประเด็นเรื่องมรณกรรม และ การฝังศพของเขาพยายามดิ้นรน เรียกร้องอิสรภาพ และ คิดจะหลบหนี ซึ่งแน่นอนว่าไม่สำเร็จ นายคนแรกที่ซื้อเขาเป็นคนมีเมตตา แต่ผู้

 

คุมทาสคอยกลั่นแกล้งจนเขาทนไม่ไหวลงมือทำร้ายคนขาว เหตุนี้ทำให้ โซโลมอน ที่ถูกตั้งชื่อใหม่ว่า แพลท์  ถูกขายต่อไปให้ เอ๊พพ์ ชายผู้ชอบเฆี่ยนตีทาสของตัวเอง รีวิวหนัง 

 

หนังไม่ได้ให้ความบันเทิง หรือสนุก ล้วนมีแต่ความเศร้าความหดหู่ล้วนๆ แต่เป็นหนังที่ดีมากๆเรื่องนึง  หนังทำให้เราความรู้สึกร่วม กับ ตัวละคร ว่าเวลาความทุกข์นั้นช่างแสนยาวนาน และ นำเสนอได้อย่างดีทีเดียวถึงความโหดร้ายของระบบทาสว่าคนขาวเห็นคนดำนั้นไม่ได้ต่างอะไรไปจากสัตว์ แม้ว่าตนจะเคร่งในศาสนาก็ตาม มันป็นอะไรที่ค่อนข้างขัดแย้งทีเดียว และ ไม่น่าเชื่อว่าคนเราจะทำร้ายกันได้ถึงเพียงนี้

 

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *